สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า รายงานว่า สถานการณ์ธุรกิจโลจิสติกส์ไทยถึงการเปิดปิดกิจการโลจิสติกส์ เดือนสิงหาคม 2567 ปัจจุบันธุรกิจโลจิสติกส์มีจำนวนนิติบุคคคลรวม 44,007 ราย โดยเปิดกิจการใหม่ 275 ราย ลดลง 16.4% และปิดกิจการ 116 รายเพิ่มขึ้น 33.3% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน

ทั้งนี้ ธุรกิจโลจิสติกส์ที่น่าจับตามอง คือ การขนส่งและขนถ่ายสินค้า รวมถึงคนโดยสาร ซึ่งมีการเปิดกิจการใหม่ จำนวน 124 ราย คิดเป็น 45.09% ของกิจการเปิดใหม่ทั้งหมด โดยธุรกิจที่มีสัดส่วนทารเปิดกิจการใหม่รองลงมา คือ การขนส่งสินค้าอื่น ๆ ทางถนน และกิจกรรมตัวแทนรับจัดการส่งสินค้าและตัวแทนออกของ (ตัวแทนดำเนินพิธีการศุลกากร)

ขณะที่ การลงทุนจากต่างประเทศในธรกิจโลจิสติกส์ เดือนสิงหาคม 2567 มีมูลค่า 39,283.79 ล้านบาท คิดเป็น 47.64% ของการลงทุนในกลุ่มโลจิสติกส์ในประเทศไทย สัญชาติที่มีการลงทุนมากที่สุด ได้แก่ จีน เนเธอร์แลนด์ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และฮ่องกง

สำหรับธุรกิจที่ต่างชาติเข้ามามาลงทุนมากที่สุด ได้แก่ กิจกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกของท่าเรือ (ยกเว้นการขนถ่ายสินค้า) คิดเป็น 72.11% ของการลงทุนจากต่างชาติในกลุ่มโลจิสติกส์ใบประเทศไทย สำหรับประเด็นที่น่าสนใจคือโอกาสและความท้าทายในการค้าระหว่างประเทศของไทยขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มปริมาณกระทรวงพาณิชย์

สนค. รายงานเพิ่มเติมว่า การส่งออกการขนส่งสินค้าและการขยายตัวของเส้นทางการบินของไทยในเดือนสิงหาคม 2567 ขยายตัว 7.0% เมื่อเทียบกับโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในภาคการส่งออกที่เติบโตอย่างรวดเร็วช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน และมีมูลค่าถึง 26,182.3 ล้านแต่การขนส่งสินค้าทางอากาศยังไม่เพียงพอ

ทั้งนี้ ข้อมูลจากแคชบอร์ดธุรกิจบริการสินค้าค้างที่สนามบินธากา จึงอาจเป็นโอกาสสำหรับโลจิสติกส์ของ สนค. ชี้ให้เห็นว่า มูลค่าการค้าระหว่างประเทศผู้ประกอบการขนส่งสินค้าทางอากาศ นอกจากนั้นของไทยโดยรวมทั้งการนำเข้าและการส่งออก ในเดือนสิงหาคม 2567 ขยายตัวจากช่วงเดียวกัน สินค้าเส้นทางจีน-จิตตะกอง ซึ่งเพิ่มความรวดเร็วของปีก่อน 14.02% โดยการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในการขนส่งสินค้าระหว่างจีนและบังกลาเทศ

ขณะที่ ในส่วนของมีมูลค่าสูงขึ้นในทุกประเภทการขนส่งหลัก และพบว่าการค้าไทย การเร่งผลักดันการเดินเรือขนส่งสินค้าเส้นทางระนอง-จิตตะกอง ก็จะช่วยขยายโอกาสของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ อีกทั้งการส่งออกสินค้าจากไทยไปสู่จีนโดยทุกประเภทไทยในตลาดดังกล่าวการขนส่งก็มีมูลค่าขยายตัวขึ้น

นอกจากนี้ ยังมีสถานการณ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น อาทิ การเข้าซื้อกิจการโลจิสติก์ ของเยอรมนีโดยบริษัทเดนมาร์ก ในขณะที่ฝั่งสหรัฐอเมริกา อยู่ระหว่างการเจรจาเรื่องการจ้างแรงงานท่าเรือ ระหว่างฝ่ายแรงงานและนายจ้าง ซึ่งหากการเจรจาไม่มีข้อสรุปโดยเร็ว อาจทำให้เกิดการสไตรค์ในท่าเรือและกระทบต่อการนำเข้า ส่งออกสินค้าทางเรือของสหรัฐฯ ได้ ส่วนอินโดนีเซีย ได้ใช้มาตรการจำกัดท่าเรือที่อนุญาตให้นำเข้าสินค้าบางกลุ่ม เช่น เสื้อผ้าสำเร็จรูปและเซรามิก ให้นำเข้าได้เฉพาะท่าเรือทาง ตะวันออกของอินโดนีเซีย เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศ การขนส่งสินค้าระหว่างอินโดนีเซียจึงควรพิจารณาวางแผนอย่างเหมาะสม

ทั้งนี้ ธุรกิจโลจิสติกส์ด้านการขนส่งทางถนน เช่น ธุรกิจขนส่งและขนถ่ายสินค้ารวมถึงคนโดยสาร ธุรกิจขนส่งผู้โดยสารด้วยรถประจำทาง และรถรับจ้างและธุรกิจขนส่งสินค้าที่บรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ทางถนน เป็นกลุ่มธุรกิจด้านโลจิสติกส์ที่สำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากมีสัดส่วนของจำนวนธุรกิจที่สูง

ที่มา : thansettakij